Teera.18

สุขภาพก็ห่วง ครอบครัวก็ต้องดูแล เลือก ประกันสุขภาพ scb อย่างไรให้ตอบโจทย์คุณ

Rate this Entry
สุขภาพก็ห่วง ครอบครัวก็ต้องดูแล เลือก ประกันสุขภาพ scb อย่างไรให้ตอบโจทย์คุณ

แผนประกันสุขภาพสำหรับคนมีครอบครัวต้องเลือกให้สอดคล้องกับสุขภาพและชีวิต เพียงทำ ประกันสุขภาพ scb หายห่วงทั้งสุขภาพตนเองที่มั่นใจว่าจะได้รับการดูแลอย่างเต็มที่ครอบคลุมค่าใช้จ่ายและค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกภายในวงเงินที่ทำประกันไว้โดยไม่ต้องควักกระเป๋าจ่ายส่วนเกินเองไม่กระทบกับเงินออมสำหรับครอบครัวในอนาคต ส่วนเรื่องการจ่ายเบี้ยประกันก็ไม่เป็นปัญหาเนื่องจากมีแผนประกันสุขภาพ 5 แบบให้เลือกสอดคล้องกับงบประมาณและตรงกับวงเงินความคุ้มครองที่ต้องการระหว่าง 1 ล้านถึง 100 ล้านบาท เชื่อแน่ว่าแต่ละคนจะเลือกความคุ้มครองได้เหมาะสมกับตนเองแน่นอน

ทำประกันสุขภาพ SCB ดูแลครอบคลุมทั้งครอบครัวคุ้มค่ากว่า เนื่องจากประกันสุขภาพ scb คือ ประกันประเภทเหมาจ่ายดูแลค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลตามที่จ่ายจริงไม่ถูกจำกัดภายใต้วงเงินค่ารักษาตามรายการเหมือนกับประกันแบบเดิมจึงไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายส่วนเกินและได้รับความคุ้มครองสูงสุดตามวงเงินผลประโยชน์ที่ได้รับต่อปีไม่ว่าจะเจ็บไข้ได้ป่วยหรือประสบอุบัติเหตุไม่คาดฝัน อุ่นใจว่าได้รับความคุ้มครองอย่างเต็มที่ไม่ต้องควักกระเป๋าจ่ายส่วนต่างเพิ่มเพราะค่ารักษาสมัยนี้แพงมาก ทำให้ประกันสุขภาพแบบแยกประเภทอาจไม่ครอบคลุมค่าใช้จ่ายในบางรายการส่งผลให้ประกันแบบเหมาจ่ายกลายเป็นตัวเลือกที่ได้รับความนิยมมากขึ้น ประกันสุขภาพ scb มีแผนความคุ้มครอง 5 แบบ สำหรับค่ารักษาผู้ป่วยในรวมทั้งค่าห้อง ค่าอาหารและค่าบริการพยาบาลเริ่มต้นวันละ 2,000 บาทและสูงสุดวันละ 25,000 บาท ขึ้นอยู่กับแผนประกันสุขภาพซึ่งจ่ายผลประโยชน์ค่ารักษาสูงสุดต่อปีระหว่าง 1 ล้านถึง 100 ล้านบาท เมื่อถึงเวลาตัดสินใจเข้าโรงพยาบาลจึงไม่รีรอรีบรักษาตัวทันทีเพราะอุ่นใจว่าประกันสุขภาพแบบเหมาจ่ายคุ้มครองค่ารักษาเต็มที่ไม่ต้องลุ้นว่าต้องเสียเงินเพิ่มขึ้นหมดกังวลทั้งตนเองและไม่เดือดร้อนครอบครัว

ค่าเบี้ยประกันแบบเหมาจ่ายสูงกว่าประกันสุขภาพทั่วไปเล็กน้อยแต่เมื่อเปรียบเทียบกันแล้วให้ความคุ้มครองสุดคุ้มครอบคลุมค่ารักษาพยาบาลทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในให้การดูแลทุกอาณาเขตทั่วโลกไม่ว่าเจ็บป่วยกรณีใดก็ตาม สำหรับประกันสุขภาพมีความยืดหยุ่นคุ้มค่ากว่าประกันทั่วไปถือเป็นการลงทุนป้องกันความเสี่ยงเพื่อให้เกิดความสบายใจไม่จำเป็นว่าจะต้องเป็นคนเจ็บไข้ได้ป่วยบ่อยหรือมีอาชีพและพฤติกรรมเสี่ยงเกิดอุบัติเหตุเป็นประจำทำประกันสุขภาพไว้ไม่ต้องสำรองจ่ายก่อนและครอบครัวก็ไม่เดือดร้อนจากการนำเงินส่วนตัวมาใช้รักษาตัวไม่ว่าป่วยมากป่วยน้อยหรือจะเป็นผู้ป่วยนอกหรือผู้ป่วยใน ค่ารักษาโรคภัยทุกวันนี้มีค่าใช้จ่ายแพงขึ้นเรื่อย ๆ ไม่แน่นอนว่าวงเงินประกันแต่ละรายการที่กำหนดไว้อาจไม่ครอบคลุมค่าใช้จ่ายในแต่ละรอบก็ได้

ประกันสุขภาพ SCB มีแผนประกันให้เลือก 5 แบบแตกต่างกัน ดังนี้
1. 1. ผลประโยชน์สูงสุด 1 ล้านบาท
* - จ่ายผู้ป่วยในวันละ 2,000 บาท
* - จ่ายผู้ป่วยนอกกรณีอุบัติเหตุ (ภายใน 24 ชั่วโมง) วันละ 2,000 บาท
1. 2. ผลประโยชน์สูงสุด 1.5 ล้านบาท
* - จ่ายผู้ป่วยในวันละ 3,000 บาท
* - จ่ายผู้ป่วยนอกกรณีอุบัติเหตุ 15,000 บาท (ไม่เกิน 3,000 บาทต่อครั้ง)
1. 3. ผลประโยชน์สูงสุด 3 ล้านบาท
* - จ่ายผู้ป่วยในวันละ 5,000 บาท
* - จ่ายผู้ป่วยนอกกรณีอุบัติเหตุ 30,000 บาท (ไม่เกิน 5,000 บาทต่อครั้ง)
1. 4. ผลประโยชน์สูงสุด 60 ล้านบาท
* - จ่ายผู้ป่วยในวันละ 15,000 บาท
* - จ่ายผู้ป่วยนอกกรณีอุบัติเหตุ 60,000 บาท (ไม่เกิน 15,000 บาทต่อครั้ง)
1. 5. ผลประโยชน์สูงสุด 100 ล้านบาท
* - จ่ายผู้ป่วยในวันละ 25,000 บาท
* - จ่ายผู้ป่วยนอกกรณีอุบัติเหตุ 100,000 บาท (ไม่เกิน 25,000 บาทต่อครั้ง)

จะเห็นได้ว่า ประกันสุขภาพ scb มีความยืดหยุ่นมากหากลองพิจารณาค่าเบี้ยประกันและวงเงินคุ้มครองสูงสุดเปรียบเทียบกันแล้วตัดสินใจเลือกรูปแบบที่เหมาะสมกับตนเองช่วยผ่อนหนักให้เบาในยามเจ็บป่วยและไม่จำเป็นต้องเลือกความคุ้มครองสูงสุดหากว่ากำลังทรัพย์ไม่พอซึ่งกลายเป็นการเพิ่มภาระครอบครัวอาจจะเกิดผลร้ายมากกว่าผลดีและถึงแม้จะเป็นข้าราชการหรือพนักงานบริษัทที่มีสวัสดิการด้านการรักษาพยาบาลอยู่แล้วแต่อาจไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่ายโรคร้ายหรืออุบัติเหตุรุนแรง ดังนั้นประกันสุขภาพเป็นความคุ้มครองที่ทำเพิ่มเติมไว้ให้เป็นหลักประกันว่าครอบครัวจะไม่เดือดร้อนทุกวันนี้มีกรมธรรม์ประกันให้เลือกหลายประเภทจึงตัดสินใจเลือกไม่ถูกว่าจะเลือกแบบไหนแนะนำให้เลือกประกันสุขภาพเป็นทางเลือกอันดับแรกโดยประเมินความเสี่ยงว่ามีโอกาสเป็นโรคอะไรและแผนความคุ้มครองแบบไหนจ่ายค่ารักษาครอบคลุมสุขภาพอย่างแท้จริง


ที่มาข้อมูล
* - https://www.scb.co.th/th/personal-ba...-lump-sum.html
1. - https://www.scb.co.th/content/dam/sc...t20-update.pdf
2. - https://www.krungsri.com/th/planyour...surance-advice

Comments